โทร 044-233000 ต่อ 5296

1) หลักสูตรระยะสั้น วิชาการใช้อุปกรณ์ IoT สำหรับเปลี่ยนบ้านให้เป็นสมาร์ทโฮม (IoT for Smart home)

1.         หัวข้อการอบรม/หลักสูตร

1.1.        การใช้อุปกรณ์ IoT สำหรับเปลี่ยนบ้านให้เป็น smart home

2.         ระยะเวลา

2.1.        2 วัน

3.         คุณสมบัติ

3.1.        นักเรียน

3.2.        นักศึกษา

3.3.        ประชาชน

3.4.        บุคลากรกองทัพ

3.5.        ผู้ที่สนใจ

4.         รูปแบบการอบรม

4.1.        บรรยาย

4.2.        อภิปราย

4.3.        ทดลองปฏิบัติ

4.4.        ทำงานกลุ่

5.         ราคาการอบรม

5.1.        นักเรียน 300 บาท

5.2.        นักศึกษา 300 บาท

5.3.        ประชาชน 1,200 บาท

5.4.        บุคลากรกองทัพ 500

5.5.        ผู้ที่สนใจ 1,200 บาท

6.         จำนวนผู้เข้าอบรมแต่ละครั้ง

6.1.        ไม่เกิน 15 คน

7.         หัวข้อรายละเอียดที่จะได้รับการอบรม

7.1.        พื้นฐานของ IoT และ Smart Home

วัตถุประสงค์: เรียนรู้หลักการทำงานของ IoT และการนำไปใช้ในบ้าน Smart Home

กิจกรรม: บรรยายเกี่ยวกับเทคโนโลยี IoT และการประยุกต์ใช้ในบ้าน

ผลลัพธ์: นักศึกษาเข้าใจหลักการ IoT และการใช้งานใน Smart Home

7.2.        อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านเรือน

วัตถุประสงค์: ทำความเข้าใจอุปกรณ์ไฟฟ้าและการทำงาน

กิจกรรม: ศึกษาอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ภายในบ้าน

ผลลัพธ์: นักศึกษารู้จักและเข้าใจอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน

7.3.        การเชื่อมต่อและการควบคุมอุปกรณ์ IoT

วัตถุประสงค์: เรียนรู้การเชื่อมต่อและควบคุมอุปกรณ์ IoT

กิจกรรม: การฝึกปฏิบัติการเชื่อมต่อและควบคุมอุปกรณ์

ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถเชื่อมต่อและควบคุมอุปกรณ์ IoT

7.4.        การตั้งค่าและการใช้งานอุปกรณ์ IoT

วัตถุประสงค์: เรียนรู้การตั้งค่าและการใช้งานอุปกรณ์ IoT

กิจกรรม: การฝึกปฏิบัติการตั้งค่าอุปกรณ์ IoT

ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถตั้งค่าและใช้งานอุปกรณ์ IoT

7.5.        การออกแบบระบบ Smart Home

วัตถุประสงค์: เรียนรู้การออกแบบระบบ Smart Home

กิจกรรม: การฝึกปฏิบัติการออกแบบระบบ Smart Home

ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถออกแบบระบบ Smart Home

7.6.        การประยุกต์ใช้ IoT ในการจัดการพลังงาน

วัตถุประสงค์: เรียนรู้การใช้ IoT ในการจัดการพลังงาน

กิจกรรม: การฝึกปฏิบัติการจัดการพลังงานด้วย IoT

ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถจัดการพลังงานด้วย IoT

7.7.        การประยุกต์ใช้ IoT ในการความปลอดภัย

วัตถุประสงค์: เรียนรู้การใช้ IoT เพื่อความปลอดภัย

กิจกรรม: การฝึกปฏิบัติการติดตั้งและใช้งานระบบความปลอดภัย IoT

ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถติดตั้งและใช้งานระบบความปลอดภัย IoT

7.8.        การประยุกต์ใช้ IoT ในการควบคุมสภาพแวดล้อม

วัตถุประสงค์: เรียนรู้การใช้ IoT ควบคุมสภาพแวดล้อม

กิจกรรม: การฝึกปฏิบัติการควบคุมอุณหภูมิ, ความชื้น, แสง

ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมด้วย IoT

7.9.        โครงการปฏิบัติการ Smart Home

วัตถุประสงค์: นำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในบ้านจริง

กิจกรรม: การทำโครงการปฏิบัติการและการนำเสนอผลงาน

ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถเปลี่ยนบ้านธรรมดาให้เป็น Smart Home

2) หลักสูตรระยะสั้น วิชาการใช้อุปกรณ์ IoT สำหรับการทำงานทางด้านสมาร์ทฟาร์ม (IoT for Smart Farm)

1.         หัวข้อการอบรม/หลักสูตร

1.1.        การใช้อุปกรณ์ IoT สำหรับการทำงานทางด้านสมาร์ทฟาร์ม

2.         ระยะเวลา

2.1.        2 วัน

3.         คุณสมบัติ

3.1.        นักเรียน

3.2.        นักศึกษา

3.3.        ประชาชน

3.4.        บุคลากรกองทัพ

3.5.        ผู้ที่สนใจ

4.         รูปแบบการอบรม

4.1.        บรรยาย

4.2.        อภิปราย

4.3.        ทดลองปฏิบัติ

4.4.        ทำงานกลุ่

5.         ราคาการอบรม

5.1.        นักเรียน 300 บาท

5.2.        นักศึกษา 300 บาท

5.3.        ประชาชน 1,200 บาท

5.4.        บุคลากรกองทัพ 500

5.5.        ผู้ที่สนใจ 1,200 บาท

6.         จำนวนผู้เข้าอบรมแต่ละครั้ง

6.1.        ไม่เกิน 15 คน

7.         หัวข้อรายละเอียดที่จะได้รับการอบรม

7.1.        การเรียนรู้พื้นฐานของ IoT

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเข้าใจหลักการทำงานและส่วนประกอบของ IoT

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การบรรยายและการสาธิตการทำงานของเซ็นเซอร์และอุปกรณ์ควบคุม

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการทำงานของ IoT และระบุส่วนประกอบหลักได้

7.2.        การเลือกใช้อุปกรณ์ IoT สำเร็จรูป

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเรียนรู้การเลือกอุปกรณ์ IoT ที่เหมาะสมกับงานเกษตร

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การศึกษาข้อมูลและการทดลองใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถเลือกและใช้อุปกรณ์ IoT ที่เหมาะสมกับสภาพและความต้องการของฟาร์มได้

7.3.        การเกษตรพื้นฐาน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเข้าใจหลักการเกษตรพื้นฐาน

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การบรรยายและการฝึกปฏิบัติในสวนทดลอง

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถจัดการดิน, การให้น้ำ และการควบคุมโรคพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7.4.        การตั้งค่าและการใช้งานอุปกรณ์ IoT

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเรียนรู้การตั้งค่าและการใช้งานอุปกรณ์ IoT

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การบรรยายและการฝึกปฏิบัติการตั้งค่าอุปกรณ์

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถตั้งค่าและใช้งานอุปกรณ์ IoT ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

7.5.        การออกแบบระบบสมาร์ทฟาร์ม

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเรียนรู้การออกแบบระบบสมาร์ทฟาร์ม

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การบรรยายและการทำโปรเจกต์กลุ่ม

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถออกแบบระบบสมาร์ทฟาร์มที่เหมาะสมกับพืชและสภาพแวดล้อมได้

7.6.        การใช้ IoT ในการจัดการน้ำและปุ๋ย

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเรียนรู้การใช้ IoT ในการจัดการน้ำและปุ๋ย

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การบรรยายและการฝึกปฏิบัติการใช้งานอุปกรณ์

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถใช้อุปกรณ์ IoT ในการจัดการน้ำและปุ๋ยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7.7.        การใช้ IoT ในการตรวจสอบและควบคุมโรคพืช

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเรียนรู้การใช้ IoT ในการตรวจสอบและควบคุมโรคพืช

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การบรรยายและการฝึกปฏิบัติการตรวจสอบโรคพืช

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถใช้อุปกรณ์ IoT ในการตรวจสอบและควบคุมโรคพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7.8.        การใช้ IoT ในการดูแลบริหารจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษาเรียนรู้การใช้ IoT ในการดูแลบริหารจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การบรรยายและการฝึกปฏิบัติการใช้งานอุปกรณ์ IoT ในการดูแลบริหารจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถใช้อุปกรณ์ IoT ในการดูแลบริหารจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ผลผลิตที่สูง

7.9.        นำเสนอผลงานระบบสมาร์ทฟาร์ม

วัตถุประสงค์การเรียนรู้: ให้นักศึกษานำเสนอผลงานระบบสมาร์ทฟาร์มของตนเอง

ลักษณะของการทำกิจกรรม: การทำโครงการปฏิบัติการและการนำเสนอผลงานต่อหน้าชั้นเรียน

ผลลัพธ์การเรียนรู้: นักศึกษาสามารถออกแบบ ดำเนินการจัดการฟาร์ม และนำเสนอผลงานระบบสมาร์ทฟาร์มด้วยการใช้ IoT ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3) หลักสูตรประกาศนียบัตร การส่งเสริมชุมชนสู่ผู้ประกอบการ ขับเคลื่อนอีสานผ่านนวัตกรรม

หลักสูตรประกาศนียบัตร การส่งเสริมชุมชนสู่ผู้ประกอบการขับเคลื่อนอีสานผ่านนวัตกรรม
Certificate in Empowering Isan Communities through Innovative-Driven Entrepreneurship  หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2567
หน่วยงานผู้รับผิดชอบ :           มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
วิทยาเขต/คณะ/สาขา             มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
                                       สถาบันสหสรรพศาสตร์  
                                       สาขานวัตกรรมวิทยาการ
 
รหัสหลักสูตร     ££-££-£££
ชื่อประกาศนียบัตร
ภาษาไทย             :  ประกาศนียบัตร การส่งเสริมชุมชนสู่ผู้ประกอบการ
ขับเคลื่อนอีสานผ่านนวัตกรรม
ภาษาอังกฤษ          :  Certificate in Empowering Isan Communities through
                             Innovative-Driven Entrepreneurship
การพิจารณาอนุมัติ
-           ได้รับการพิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการประจำสถาบันสหสรรพศาสตร์ ในการประชุมครั้งที่ 4/2567 เมื่อวันที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ. 2567
-           ได้รับการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากสภาวิชาการมหาวิทยาลัยฯ ในการประชุม             ครั้งที่ 10/2567 วันที่ 18 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2567
-           ได้รับการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ 13/2567    วันที่ 29 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
 
1. หลักการและเหตุผลของหลักสูตร
นวัตกรรมในเชิงพื้นที่ถูกกล่าวถึงนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร เนื่องด้วยพื้นที่หรือย่านนวัตกรรมไม่ได้กระจุกตัวอยู่บริเวณเมืองหลวง และยังกระจายตัวไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ           ซึ่งมีความโดดเด่น และมีเอกลักษณ์แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน โดยภาคอีสานมีนวัตกรรมในเชิงสังคม โดยเฉพาะ ในแง่ของการปรับเปลี่ยนและสร้างอัตลักษณ์ของอีสานให้โดดเด่น ผ่านการขับเคลื่อนและบ่มเพาะของมหาวิทยาลัยในพื้นที่ภาคอีสาน ให้เกิดความรู้มีทักษะ          มีความเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ โดยนวัตกรรมในพื้นที่ภาคอีสาน จึงมีนวัตกรรมฐานรากที่จําเป็น      ต้องยกระดับตนเองมาสู่การทําธุรกิจ โดยในชุมชนในพื้นที่ภาคอีสานยังขาดมุมมองด้านธุรกิจหรือ         การเป็นผู้ประกอบการที่จะช่วยในการบ่มเพาะและส่งเสริมนวัตกรรมฐานรากในภาคอีสานให้สามารถ   สร้างโอกาสและรายได้ในระยะยาวได้อย่างเหมาะสม ดังนั้น ในการสร้างนวัตกรรมเชิงพาณิชย์หรือเชิงสังคม โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคอีสานที่ต้องสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชนในพื้นที่ได้จึงมีความจําเป็นที่ต้อง       บูรณาการมุมมองด้านการพัฒนานวัตกรรมควบคู่ไปกับการเป็นผู้ประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่    โดยใช้ความเป็นอีสานหรือชุมชนฐานรากเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่จะสร้างคุณค่าทั้งเชิงรายได้และเชิงสังคมควบคู่กัน
สถาบันสหสรรพศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ได้พัฒนาหลักสูตรรูปแบบ Innovation & Entrepreneurship โดยใช้จุดแข็งด้านคลัสเตอร์ของมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อน       การสร้างนวัตกรรมฐานรากในชุมชนภาคอีสาน และจะต้องสร้างบัณฑิตที่มีความพร้อมรับมืออาชีพและทักษะ  ที่จําเป็นใหม่ ๆ ในอนาคต การเตรียมหลักสูตรประเภทการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learning)          การเตรียมการบริการวิชาการแก่สังคมเมื่อเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์การพัฒนาหลักสูตร งานวิจัยและบริการวิชาการภายใต้แนวคิด BCG Economy Model มาปรับใช้เพื่อสร้างความสมดุลให้เศรษฐกิจเติบโตควบคู่กับการอยู่ร่วมกันในสังคมและดูแลสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานจึงมุ่งยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation Strategic Intent University) เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมและอุตสาหกรรมของประเทศ ซึ่งได้มีการกําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานพ.ศ. 2565 - 2569 เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ บนฐานจุดเน้นใน 3 Cluster หลัก ได้แก่ 1) Logistics & Tourism 2) Agriculture Technology และ 3) Food & Health และเพิ่มจุดเน้นใหม่ ได้แก่ 1) กัญชงกัญชาและสมุนไพร 2) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 3) Robotic & Automation 4) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร และ 5) Quantum Technology
ดังนั้น การเปิดหลักสูตรประกาศนียบัตร การส่งเสริมชุมชนสู่ผู้ประกอบการ ขับเคลื่อนอีสานผ่านนวัตกรรม มีการจัดการเรียนการสอนผ่านทางการบูรณาการผู้สอนแบบสหสาขาวิชา เพื่อให้สอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของผู้เรียน โดยมีการสร้างทีมผู้สอนจากอาจารย์ในศาสตร์ด้านวิศวกรรมศาสตร์           ด้านเทคโนโลยี ด้านบริหารธุรกิจ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรม เป็นต้น เพื่อให้สอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของผู้เรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเปิดรับผู้เรียน 2 กลุ่ม                 ได้แก่ 1) นักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และ 2) บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย          เช่น บุคคลทั่วไป หรือ ชุมชนหรือผู้ประกอบการในพื้นที่อีสาน เป็นต้น โดยการจัดการเรียนการสอนมีการใช้การจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น   ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลาย ร่วมกับระบบการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย (Learning Management System) และการให้ผู้เรียนในทํางานจริงร่วมกับชุนชนฐานรากในพื้นที่ภาคอีสาน ซึ่งถือเป็นจุดเด่นของหลักสูตร ส่งเสริมชุมชนสู่ผู้ประกอบการ ขับเคลื่อนอีสานผ่านนวัตกรรม ที่มีเป้าหมายในการให้ผู้เรียนได้นําทักษะในห้องเรียน เพื่อลงไปใช้กับพื้นที่จริงนอกตํารา ซึ่งจะสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์การเรียนรู้จากการลงมือทําจริงได้อีกทั้ง   ยังสามารถทําความเข้าใจคุณค่าของชุมชนพื้นที่อีสาน เพื่อที่จะสามารถพัฒนานวัตกรรมและออกแบบธุรกิจใหม่ที่สามารถสร้างคุณค่าเชิงพาณิชย์และสังคม (Commercialization) ให้กับชุนชนฐานรากในพื้นที่ภาคอีสาน
 
2. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ ความตระหนักรู้ และเห็นคุณค่าในรากเหง้าของชุนชนฐานราก    ในพื้นที่ภาคอีสาน
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้แนวคิดและทักษะทางนวัตกรรม เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม         ด้านเทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ภายในชุมชนฐานรากในพื้นที่ภาคอีสาน
2.3 เพื่อให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้หลักความเป็นผู้ประกอบการและการนำเสนอขายงานสำหรับ     ธุรกิจใหม่ เพื่อพัฒนาและสร้างธุรกิจจากนวัตกรรมในชุนชนฐานรากในพื้นที่ภาคอีสาน
2.4 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทำงานเป็นทีม แก้ไขปัญหา และทำงานร่วมกับชุมชน ในพื้นที่จริง ก่อให้เกิดการพัฒนานวัตกรรม และธุรกิจใหม่ในชุมชนฐานรากในพื้นที่ภาคอีสาน  
2.5 เพื่อสะสมหน่วยกิตในระบบธนาคารหน่วยกิต ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
 
3. อาจารย์
3.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ตำแหน่งวิชาการ

ชื่อ-สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจากสถาบัน

ปี พ.ศ.

ที่สำเร็จการศึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายพลเทพ เวงสูงเนิน

ปร.ด.

วศ.ม.

วศ.บ.

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2556

2552

2548

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายรตินันท์ เหลือมพล

วศ.ด.

วศ.ม.

วศ.บ.

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกล

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2559

2552

2550

อาจารย์

นายวิจัย บุญญานุสิทธิ์

วส.ด.

 

วส.ม.

 

วส.บ.

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุรนารี

2560

 

2554

 

2548

 
3.2 อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร

ตำแหน่งวิชาการ

ชื่อ-สกุล

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจากสถาบัน

ปี พ.ศ.

ที่สำเร็จการศึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายพลเทพ เวงสูงเนิน

ปร.ด.

วศ.ม.

วศ.บ.

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2556

2552

2548

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

นายรตินันท์ เหลือมพล

วศ.ด.

วศ.ม.

วศ.บ.

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกล

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2559

2552

2550

อาจารย์

นายวิจัย บุญญานุสิทธิ์

วส.ด.

 

วส.ม.

 

วส.บ.

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุรนารี

2560

 

2554